บันทึกการเรียนครั้งที่4
ความรู้ที่ได้
ทบทวนพัฒนาการตามทฤษฏี
ทฤษฏีของเพียร์เจย์ ขั้นที่1เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง5 ขั้นที่2เด็กเริ่มใช้ภาษามากขึ้นและมีเหตุผล
ทฤษฏีของบรูเนอร์ ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ
ทฤษฏีของไวกอตสกี้ เด็กมีความคิดที่อยากกระทำเองโดยที่ไม่ต้องมีใครมาสั่ง
ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจต์
ความรู้ด้านกายภาพ คือ ความรู้ที่จับต้องได้ด้วยประสาทสัมผัส
ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์ เกิดจากการเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นกับทฤษฏีคือ การเชื่อมโยงการทำงานของสมอง
ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์เกิดจากเด็กลงมือทำหลายๆครั้งไปสู่ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอดจึงนำไปสู่ข้อสรุป
จุดมุ่งหมาย
เพื่อเด็กมีความเข้าใจพื้นฐานกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์
เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวกทำให้เพิ่มขึ้น การลบทำให้ลดลง
เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1.การสังเกต
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากประสาทสัมผัสทั้ง5 เช่น ฟังวิทยุ,ดูทีวี
2.การจำแนกประเภท
การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกฑ์ ้องใช้เกณฑ์เดียวจง่ายขึ้นต่อการตอบของเด็ก
3.การปรียบเทียบ
เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุ ต่อสิ่งมีชิด ตั้งแต่สองชิ้นข้นไป
เข้าใกี่วกบลักษณ์เฉพาะของสิ่งนั้น
การจัดลำดับ
เป็นทักษะกรบวนการขั้นสูง
การจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
การวัด
มีความสัมพันธ์กับความสามารถสิ่งขิองของในการอนุรักษ์
การวัดสำหรบเด็กปฐมวย ได้แก่ อุณภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาน
การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกฑ์ ้องใช้เกณฑ์เดียวจง่ายขึ้นต่อการตอบของเด็ก
3.การปรียบเทียบ
เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุ ต่อสิ่งมีชิด ตั้งแต่สองชิ้นข้นไป
เข้าใกี่วกบลักษณ์เฉพาะของสิ่งนั้น
การจัดลำดับ
เป็นทักษะกรบวนการขั้นสูง
การจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
การวัด
มีความสัมพันธ์กับความสามารถสิ่งขิองของในการอนุรักษ์
การวัดสำหรบเด็กปฐมวย ได้แก่ อุณภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาน
การวัดของเด็กปไม่ใช้หน่วยวาดมาตรฐานในการวัด คือ หาค่าไม่ได้ตามมาตรฐาน
การนับ
เด็กชอบการนบแบบท่องจำโดยไม่เข้าใความหมาย
การนบแบบท่องจำนี้จมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจดปรสงค์บางอย่าง
รูปร่างแลขนาด
เด็กส่วนใหญ่ะมีวามรู้กี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจเข้าโรงเรียน
เด็กเรียนรู้มาจากสิ่งรอบตัวตั้งแต่เด็กแต่เพียงไม่รู้วามหมาย
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข , ขนาด , รูปร่าง , ที่ตั้ง , ค่าของเงิน , ความเร็ว , อุณภูมิ
ขอบข่ายของหลักสูตร
1.การนับ อย่างมีความหมาย
2.ตัวเลข
3.จับคู่ ฝึกฝนให้เด็กสงเกต
4.การจัดปรเภท
5.รูปทรงแลเนื้อที่
6.การวัด
หลักการสอน
1.สอดคล้องกบชีวิตปรจำวน การรียนรู้เกิดข้นได้ก็่อมื่อเด็กมองเห็นความจำเป็นแลประโยชน์ของสิ่งที่ครูกำลังสอน
2.เปิดโอกาสให้เด็กค้นพบตัวเอง
3.เอาใจใส่ลำดับพัฒนาการ
เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นล่า หลั่นลา
หลั่นลา หล่นล้า
ทักษะ
การสังเกตการจำแนกประเภทการปรียบเทียบทางคณิตศาสตร์
ได้เพลงสวัสดียามเช้าเพิ่มอีกหนึ่งเพลง
ได้เพลงสวัสดียามเช้าเพิ่มอีกหนึ่งเพลง
วิธีการสอน
มีการใช้คำถามปลายเปิด
ให้รู้จักการวิเคาระห์ในเนื้อหาที่เรียน
ประเมินห้องเรียน
เรียบร้อยสะอาดและเป็นระเบียบดี
ประเมินตนเอง
จดเนื่อหาต่างๆลงสมุด คิดวิเคราะห์ตามอาจารย์ให้ความร่วมือในการตอบคำถาม
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อยใช้คำพูดในการสอนได้สุภาพคำอธิบายในเนื้อหาการสอนเข้าใจง่าย
ประเมินเพื่อน
มีมาเรียนสายบ้าง แต่ก็ตั้งใจเรียนดี
มีการใช้คำถามปลายเปิด
ให้รู้จักการวิเคาระห์ในเนื้อหาที่เรียน
ประเมินห้องเรียน
เรียบร้อยสะอาดและเป็นระเบียบดี
ประเมินตนเอง
จดเนื่อหาต่างๆลงสมุด คิดวิเคราะห์ตามอาจารย์ให้ความร่วมือในการตอบคำถาม
ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อยใช้คำพูดในการสอนได้สุภาพคำอธิบายในเนื้อหาการสอนเข้าใจง่าย
ประเมินเพื่อน
มีมาเรียนสายบ้าง แต่ก็ตั้งใจเรียนดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น