วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่15
ความรู้ที่ได้

เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์
เนื้อหาที่เป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนต่อโดยการลงมือกระทำ ซึ้งเป็นสิ่งที่เป็นรูปธรรมจับต้องได้

สาระการเรียนรู้

สารที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
คุณภาพของเด็ก
ความคิดทางคณิตศาสตร์
-จำนวนนับ 1 ถึง 20 เลขฐาน 10 เพิ่มที่ละ 10 ทำให้เด็กเข้าใจง่าย
-เข้าใจหลักการนับ เพิ่มขึ้น 1 แล้ว 2 สองเพิ่มขึ้นมาหนึ่งเป็น 3
-รู้ค่าของจำนวน
-เปรียบเทียบเรียงลำดับ
-การรวมและการแบ่งกลุ่ม
-รู้จักเลขฮินดูและเลขไทย เช่น 1 <คล้ายเสาธง>  2 <คล้ายหงษ์>  3 <คล้ายดอกไม้> 4 <คล้ายเรือใบ>

สาระที่ 2 มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาณ เงิน และเวลา

สาระที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเรขาคณิต รูปทรงจะมีมิตติ รูปธรรมดาไม่มีมิติ

สาระที่ 4 มีความรู้ความเข้าใจแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง

สาระที่ 5 มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล เช่น ตรางโรงเรียน

สาระที่ 6 มีทักษะและกระบวนการคิด สามารถคิดเป็น บวกลบเลขเป็น


สาระที่ควรรู้ทางคณิตศาสตร์

สระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
   เข้าใจถึงความหลากหลาย ของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตประจำวัน เช่น จำนวนเงินในกระเป๋าสตางค์ทั้งหมด , จำนวนเงินที่พ่อแม่ให้มา

จำนวน
- การใช้จำนวนบอกปริมาณ
- การอ่านตัวเลขฮินดู-ไทย
- การเขียนตัวเลข ฮินดู-ไทย
- เปรียเทียบ
- เรียงลำดับ

การรวมและการแยก
ความหมายของการรวม
- การรวมสิ่งต่างๆสองกลุ่มที่มีผลรวมไม่เกิน 10
ควมหมายของกรแยก
- การแยกออกจากกลุ่มย่อยออกากกลุ่มใหญ่ที่มีอำนาไม่เกิน 10

สาระที่ 2  กาวัด
เข้าใจพื้นฐานเกีวกัการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมตร เงินและเวลา เช่น กรเปรียบเทียบ , การชั่งน้ำหนัก


ความยาว  น้ำหนัก  ปริมาตร
การเปรียบเทียบ / การวัด / การเรียงลำดัความยาว


เงิน
ชนิดและค่าของเงิน  เหรียญและธนบัตร
การใช้เงินในการซื้อสิ่งของ


เวลา
ช่วงเวลาในแต่ละวัย , ชื่อในสัปดาห์และคำที่ใช้บอกเกี่ยวกับวัน มีสื่อคือ ปฏิทิน

สาระที่ 3 เรขาคณิต
- ใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทางและระยะทาง
- จำแนกรูปเรขาคณิต เข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจักการกระทำ
สาระที่ 4 พีชคณิต
แบบรูปและความสัมพันธ์ เช่น  OX OX __
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การแก้ปัญหา , การให้เหตุผล , การื่อสาร , การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์


เพลงจัดแถว

สองมือเราชูตรง   แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า

ต่อไปย้ายมาข้างหน้า   แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง

เพลง ซ้ายขวา

ยืนให้ตัวตรง   ก้มหัวลงตบมือแผละ

แขนซ้าย (ขวา) อยู่ไหน   หันตัวไปทางนั้นแหละ

ทักษะ
วิธีการสอนเด็กเราควรให้เด็กได้ลงมือทำลงมือปฏิบัตเอง
ได้รู้สาระการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วิธีการสอน
มีสื่อ Power point ในการสอน
ให้ร้องเพลงประกอบการเรียน

ประเมินห้องเรียน
ห้องสะอาดเรียบร้อยดี

ประเมินตนเอง
แต่งกายสุภาพ ให้ความรวมมือในการเรียนการทำกิจกรรม

ประเมินอาจารย์
ให้คำอธบายในเนื้อหาเข้าใจง่ายชัดเจน

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียนดี และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน






บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่7

ความรู้ที่ได้รับ

ทฤษฏีมอนเตสเซอรรี่
  การเล่นแบบจากง่ายไปหายากตามลำดับ,เป็นของเล่นที่ตรวจสอบได้,ครูจะต้องสอนวิธีเล่นเด็กจะไม่ข้ามขั้นตอน ให้เด็กมีประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์จากการเล่น หรือ บทบาทสมมติ

ทฤษฏีโฮเเลงว์แกวท เป็รการเรียนรู้ตามธรรมชาติ ส่วนเรื่องการสรุปผล จะสอนเด็กโดยการทำแผนภูมิเป็นตาราง
การสอนแบบสาธิต คือการบอกส่วนผสมและวิธีทำออกมาเป็นรูปภาพ
สิ่งที่นำมาระยุกต์ใช้กับคณิตศาสตร์ เช่น การร้องเพลงนับเลขโดยการใช้นิ้วขึ้นมานับ


เพลง นับนิ้วมือ

นี่คือนิ้วมือของฉัน  มือฉันนั้นมีสิบนิ้ว

มือซ้ายฉันมีห้านิ้ว   มือขวาก็มีห้านิ้ว

นับ หนึ่ง สอง สาม สี ห้า   นับต่อมา หก เจ็ด แปด เก้า สิบ

นับนิ้วนั้นจงอย่ารีบ  นับหนึ่งถึงสิบจำให้ขึ้นใจ


คำคล้องจอง

หนึ่ง สอง สาม เป็นยามปลอด    สี่ ห้า หก ลอดรั่วออกไป

เจ็ด แปด ก้าว แดดแจ่มใส    สิบ สิบเอ็ด ไวไววิ่งไล่กัน

สิบสิง สิบสาม รีบย่องกลับ


รูปแบบการจัดประสบการณ์
รูปแบบการจักประสบการณ์แบบบูรณาการโครงการ
รูปแบบการจักประสบการณ์แบบสมองเป็นฐาน
แบบรูปแบบการจักประสบการณ์แบบSTEM
แบบรูปแบบการจักประสบการณ์มอนเตสเซอร์รี่
แบบรูปแบบการจักประสบการณ์เดินเรื่อง

ทักษะ
ความรู้จากนักทฤษฏีต่างๆในเรื่องคณิตศาสตร์
ร้องเพลงและอ่านคำคล้องจอง
รู้เรื่องรูปแบบการจัดประสบการณ์

วิธีการสอน
บรรยายประกอบ Power Point
ใช้คำถามปลายเปิด

ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรม แต่งกายสุภาพ

ประเมินเพื่อน
ให้ความร่วมมือในการเรียนดี

ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพมีอารมณ์ยิ้มแย้มแจ่มใส

บันทึกการเรียนประจำวันพุธที 28 มกราคม 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่4
ความรู้ที่ได้

ทบทวนพัฒนาการตามทฤษฏี
ทฤษฏีของเพียร์เจย์ ขั้นที่1เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง5 ขั้นที่2เด็กเริ่มใช้ภาษามากขึ้นและมีเหตุผล
ทฤษฏีของบรูเนอร์ ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ
ทฤษฏีของไวกอตสกี้ เด็กมีความคิดที่อยากกระทำเองโดยที่ไม่ต้องมีใครมาสั่ง

ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจต์
ความรู้ด้านกายภาพ คือ ความรู้ที่จับต้องได้ด้วยประสาทสัมผัส
ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์ เกิดจากการเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นกับทฤษฏีคือ การเชื่อมโยงการทำงานของสมอง
ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์เกิดจากเด็กลงมือทำหลายๆครั้งไปสู่ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอดจึงนำไปสู่ข้อสรุป

จุดมุ่งหมาย
เพื่อเด็กมีความเข้าใจพื้นฐานกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์
เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวกทำให้เพิ่มขึ้น การลบทำให้ลดลง
เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1.การสังเกต
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากประสาทสัมผัสทั้ง5 เช่น ฟังวิทยุ,ดูทีวี
2.การจำแนกประเภท
การแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกฑ์ ้องใช้เกณฑ์เดียวจง่ายขึ้นต่อการตอบของเด็ก
3.การปรียบเทียบ
เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุ ต่อสิ่งมีชิด ตั้งแต่สองชิ้นข้นไป
เข้าใกี่วกบลักษณ์เฉพาะของสิ่งนั้น

การจัดลำดับ
เป็นทักษะกรบวนการขั้นสูง
การจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์

การวัด
มีความสัมพันธ์กับความสามารถสิ่งขิองของในการอนุรักษ์
การวัดสำหรบเด็กปฐมวย ได้แก่ อุณภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาน

การวัดของเด็กปไม่ใช้หน่วยวาดมาตรฐานในการวัด คือ หาค่าไม่ได้ตามมาตรฐาน

การนับ
เด็กชอบการนบแบบท่องจำโดยไม่เข้าใความหมาย
การนบแบบท่องจำนี้จมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจดปรสงค์บางอย่าง

รูปร่างแลขนาด
เด็กส่วนใหญ่ะมีวามรู้กี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนจเข้าโรงเรียน
เด็กเรียนรู้มาจากสิ่งรอบตัวตั้งแต่เด็กแต่เพียงไม่รู้วามหมาย


คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข , ขนาด , รูปร่าง , ที่ตั้ง , ค่าของเงิน , ความเร็ว , อุณภูมิ 

ขอบข่ายของหลักสูตร

1.การนับ อย่างมีความหมาย
2.ตัวเลข
3.จับคู่ ฝึกฝนให้เด็กสงเกต
4.การจัดปรเภท
5.รูปทรงแลเนื้อที่
6.การวัด


หลักการสอน
1.สอดคล้องกบชีวิตปรจำวน การรียนรู้เกิดข้นได้ก็่อมื่อเด็กมองเห็นความจำเป็นแลประโยชน์ของสิ่งที่ครูกำลังสอน
2.เปิดโอกาสให้เด็กค้นพบตัวเอง
3.เอาใจใส่ลำดับพัฒนาการ



เพลง สวัสดียามเช้า

ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า    อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว   หนูเตรียมตวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คณพ่อ   ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นล่า หลั่นลา
หลั่นลา หล่นล้า

ทักษะ
การสังเกตการจำแนกประเภทการปรียบเทียบทางคณิตศาสตร์
ได้เพลงสวัสดียามเช้าเพิ่มอีกหนึ่งเพลง


วิธีการสอน
มีการใช้คำถามปลายเปิด
ให้รู้จักการวิเคาระห์ในเนื้อหาที่เรียน

ประเมินห้องเรียน
เรียบร้อยสะอาดและเป็นระเบียบดี

ประเมินตนเอง
จดเนื่อหาต่างๆลงสมุด คิดวิเคราะห์ตามอาจารย์ให้ความร่วมือในการตอบคำถาม

ประเมินอาจารย์
แต่งกายสุภาพเรียบร้อยใช้คำพูดในการสอนได้สุภาพคำอธิบายในเนื้อหาการสอนเข้าใจง่าย

ประเมินเพื่อน
มีมาเรียนสายบ้าง แต่ก็ตั้งใจเรียนดี




บันทึกการเรียนประจำวันศุกร์ที่ 3 เมษายน 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่12

ความรู้ที่ได้รับ

กิจกรรมตัวอย่าง



รูปสัตว์เหล่านี้สามารถนำมาใช้ในการสอนเด็กได้ เช่น 
- การนับขาของสัตว์
ม้าลาย 2 ตัว
นก 2 ตัว
กบ 2 ตัว
เป็ด 1 ตัว
นับขารวมกันได้เท่าไหร่
- ดวงตาของสัตว์รวมกันแล้วมึกีดวง
เป็นต้น
การออกแบบกิจกรรม
1. ศึกษาสาระที่ควรรู้
2.วิเคราะห์เนื้อหา
3. ศึกษาประสบการณ์สำคัญ
4. บูรณาการสาระคณิตศาสตร์
5.ออกแบบกิจกรรม
ประสบการณ์สำคัญมี 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
ด้านสังคม 
ด้านอารมณ์แลพจิตใจ
ด้านสติปัญญา
ออกแบบการจัดประสบการณ์
ขั้นนำ ทำให้เด็นสนใจในเรื่องที่จะเรียน เช่นร้องเพลง
ขั้นสอน สนทนาถามถึงเนื้อหาในเพลง เด็กๆรู้จักอะไรในเพลงบ้าง (ถามความรู้เดิม)
ขั้นที่สาม สร้างความลึกลับอยากรู้อยากเห็นของงสื่อหยิบแยกออกจากกรงแล้วถามว่ามีเท่าไหร่
สรุป วันนี้เด็กๆรู้จัก...อะไรบ้าง

My Mapping. กลุ่มดิฉันทำเรื่อง สุนัข





ทักษะ
การเตรียมการสอน
การทำกิจกรมมสว่ารูปสัตว์ก็สามารถนำมาเป็นสื่อในการสอนคณิตศาสตร์ได้
ทำ My mapping.

วิธีการสอน
มีสื่อเป็นรูปภาพในการสอน
เนื้อหาในการสอนครบถ้วนดี
ใช้ My mapping ในการจัดประสบการณ์

ประเมินห้องเรียน
อุปกรณ์พร้อมใช้งาน
ห้องเรียนสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยดี

ประเมินอาจารย์
ใช้คำอธิบายเข้าใจง่าย
แต่งกายสุภาพ
มาสอนตรงเวลา

ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียนจดลงสมุดเสมอกับความรู้ที่ได้
ให้ความร่วมมือในงานกลุ่มและในห้องเรียน

ประเมินเพื่อน
มาเรียนสายบ้าง ตั้งใจเรียนดี ให้ความร่วมมือดี



บันทึกการเรียนประจำวันพุธที่ 8 เมษายน 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่12

ความรู้ที่ได้รับ
- การสอนหน้าชั้นเรียนของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มที่1 หมวดที่สอน กล้วย






กล้วยคือผลไม้ใครๆก็ชอบกินกล้วย
ค้างคาว ช้าง ลิง ฉันด้วยกินกล้วยมีวิตตามิน
กล้วยส้มกล้วยหอมกล้วยไข่
ขาดไม่ได้คือกล้วยน้ำว้า
ตัดใบห่อขนมเธอจ๋า
ส่วนก้านเอามาทำไม้ก้านกล้วย


กลุ่มที่2 หมวดแตงโม



แตงโม  แตงโม  แตงโม
โอโหแตงโมลูกใหญ่
เนื่อแดงเรียกจินตหรา
เนื้อเหลืองนี่หนาเรียกน้ำผึ้ง


กลุ่มที่3 เรียกสุนัข



บ๊อกๆๆๆๆ บ๊อกเป็นเสียงเรียกของน้องหมา
เด็กๆรู้ไหมหน้าตา (ซ้ำ) ของน้องหมานั้นหน้ารักดี
หมามีหลายชนิด ไหนลองคิดๆช่วยกันสิ
เด็กๆช่วยตอบครูที (ซ้า) ชนิดน้องหมานี้นั้นมีอะไร
เช่น โกเด้น บางแก้ว ชิวาวา พุ๊ดเดิ้น บรู๊!! บรู๊!!

กลุ่มที่4 หมวดเรื่องไก่



ไก่ ไก่ ไก่ ไก่ ไก่นั้นมีสองขา
ได้ชนเดินมา แล้วร้องว่ากระต๊ากๆ
ไก่ ไก่ ไก่ ไก่ นั้นมีสองขา
ไก่แจ้เดินมาแล้วร้องว่ากระต๊ากกระต๊าก

ทักษะ
การสอนหน้าชั้นเรียน
การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มการระดมความคิด

วิธีการสอน
ประเมินการสอนของแต่ละกลุ่ม
ให้คำแนะนำเทคนิคในการสอน

ประเมินห้องเรียน
อุปกรณพร้อมใช้งาน
ห้องสะอาดเรียบร้อยดี

ประเมินตนเอง
ตั้งใจทำงานกลุ่มกับเพื่อนๆ
ให้ความร่วมมือในการทำงานได้ดี
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย

ประเมินเพื่อน
มาเรียนตรงเวลา
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ให้ความร่วมมือในการทำงานดี นำเสนอดีเยี่ยม

บันทึกการเรียนประจำวันพุธที่ 22 เมษายน 2556

บันทึกการเรียนครั้งที่13

ความรู้ที่ได้รับ

การสอนหน้าชั้นเรียนเรื่องดอกไม้
- สอนร้องเพลง ดอกไม้
ดอกไม้มีนานาพันธ์

มะลิสีขาว กุหลาบสีแดง

ทานตะวันนั้นมีสีเหลือง

เด็กๆดูสิน่าชวนชมเอย

- ถามความรู้เดิมว่านอกจากดอกไม้ในเพลงเด็กๆรู้จักดอกไม้อะไรอีกบ้าง
- ให้เด็กนับดอกไม้แล้วนับจำนวนเรียงกันตามลำดับ แยกประเภทของดอกไม้ แล้วกำหนดขึ้นมาว่า ดอกไหนคือดอกกุหลาบและที่ไม่ใช่ดอกกุหลาบ โดยการจับคู่ 1 ต่อ 1  ดอกกุหลาบหมดก่อนแสดงว่าดอกุหลาบมีน้อยกว่าที่ีไม่ใช่ดอกกุหลาบ เด็กได้รู้จักชนิดของดอกไม้ ดอกมะลิ กุหลาบ ทานตะวัน พุทธซ้อน กุหลาบ

ทักษะ
- การสอนหน้าชั้นเรียน การวางตัว การนั่ง การใช้คำพูด
- สอนตามแผนที่เขียนไว้

 วิธีการสอน
- แนะนำการสอนหรือการใช้เทคนิคให้ถูกวิธี
- มีการประเมินการสอนหน้าชั้นเรียนของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาที่ไม่ได้สอนหน้าชั้นเรียนเป็นเด็กนักเรียน

ประเมินสภาพห้องเรียน
- สะอาดเรียบร้อยดี
- อุปกรณ์พร้อมในการใช้งาน

ประเมินตนเอง
ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอน 
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
วางรองเท้าเป็นระเบียบ

ประเมินเพื่อน
ให้ความร่วมมือกันทุกคนตั้งใจดูและฟังตอนเพื่อนออกไปสอนหน้าชั้นเรียน

ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายสุภาพเรียบร้อยใช้คำพูดไพเราะ ตั้งใจสอนและให้คำแนะนำในข้อผิดพลาดของเด็กได้ดีมาก

บันทึกการเรียนปรำจำวันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558

บันทึกการเรียนครั้งที่6

ความรู้ที่ได้


นิทาน อย่างเช่นการหานิทานมาเล่าให้เด็กฟัง โดยเป็นรื่องเกี่ยวกับตัวเลข
เพลง การเเต่งเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับตัวเลข เช่น เพลงนกกระจิบ เป็นต้น 
เกม  เกมอาจเกี่ยวกับการจับคู่ จำนวนต่างๆ ลูกเต๋า
คำคล้องจอง เช่น การใชคำสุภาษิต ปริศนาคำทาย
 เป็นการนำสิ่งเหล่านี้มาปรับประยุกต์เข้ากับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อให้เด็กไม่รู้สึกว่ากำลังเรียนหรือเป็นการกดดัน  เเต่จะเป็นการเรียนที่เด็กไม่รู้ตัวเเละสนุกเพลิดเพลินไปกับคณิตศาสตร์เเละได้ช่วยกันแต่งเพลง

ไข่ 2 ฟอง กล่อง 2 ใบ

 ไก่ 2 ตัว วัว 2 เขา 

 เกาเหลา 2 ชาม

นับไปนับมา 2 อย่างหมดเลย 

ทักษะ
- การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มของเพื่อนในห้องเรียน
- การใช้นิทานเข้ามาเป็นสื่อในการสอนคณิตศาสตร์ นิทาน คือ สิ่งที่ได้มาจากที่เราจินตนาการขึ้นยิ่งเราสอดแทรกเนื้อหาของคณิตศาสตร์เข้าไปก็จะเกิดการจิตนานการตามทำให้เกิดการจำได้ดี
- การใช้เพลงเป็นสื่อการสอนคณิตศาสตร์ เป็นสื่อที่ดีมากเพราะเสียงเพลงอยู่คู่กับเราตลอดช่วงชีวิตและเป็นสิ่งที่จำได้ง่ายที่สุดโดยอัตโนมัติเป็นสิ่งที่ทำให้เพลิดเพลินและไม่เคลียด
- การใช้เกมเป็นสื่อ เพราะเด็กปฐมวัยเรียนรู้ได้ดีจากการเล่นการลงมือปฏิบัติ
- คำคล้องจอง เป็นการเชื่อมคำให้สัมพันธ์กันคำจะเชื่อมโยงกันรทำให้เข้าใจง่ายขึ้น

วิธีการสอน
- มีการเตรียมสื่อการสอนมาพร้อม
- มีการให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนโดยการแสดงความคิดของตัวเอง
- การใช้คำถามปลายเปิดในการถามนักศึกษา
- วิเคราะความคิดเห็นของทุกคนในห้องเรียน ให้เป็นความเข้าใจสิ่งเดียวกัน
ประเมินสภาพห้อง
- อุปกรณ์พร้อมในการใช้งาน
- ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อยดี
ประเมินตนเอง
- แต่งกายเรียบร้อย
- ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอนของอาจารย์
- จดบันทึกความรู้ที่ได้รับในสมุด
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนบางคนให้ความร่วมมือและตั้งใจเรียนได้ดีมาก
- เพื่อนบางคนก็เอาแต่คุยไม่สนใจจนบางทีรบกวนสมาธิของคนที่ตั้งใจเรียน

ประเมินอาจาร์
- อาจารย์มีความพร้อมในการสอน
- เนื้อหาของสื่อในการสอนดีและเข้าใจง่าย
- มีทั้งวิชาการและมีการปฏิบัติร้องเพลงเกิดความสนุกสนานยิ่งขึ้น

วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียน วันศุกร์ที่ 23 มกราคม 2558

บันทึกการรียน

ความหมายและประโยชน์ของการพัฒนา
พัฒนาการคือการเปลี่ยนแปลงความสามารถของแต่ลช่วงวยทั้ง 4 ด้าน การปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องสะท้อนความสามารของเด็ก พัฒนาการด้านร่างกาย คว้ำ คบคลาน นั่ง ยืน ิน วิ่ง
พัฒนาการทางสติปัญญา อารมณ์และสังคม
พัฒนาการจเปลี่ยนแปลงไปทางวุฒิภาวะมีอายุมากำกับ
ปรโยชน์คือ 1.ทำให้ครูรู้จักด็กมากขึ้น
                   2. ตรหนักให้ความแต่กต่างระหว่างบุคคลของเด็ก
                   3. ทำให้ราจัดปรสบการณ์ได้สอคลองกับพัฒนาการของเด็ก
                   4. ได้ทรงเสริมัฒนาการที่เหมาะสมกับเด็กแต่ลช่วงวย

พํฒนาการทางสติปัญญากับการทำงานของสมอง



การทำงานของสมอง
สมองคือสิ่งที่สั่งการรับรู้จากปรสาทสัมผัสทั้ง 5 เก็บกี่ยวข้อมูล เรียนรู้เพื่อที่ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งนั้นๆ เรียนรู้เพื่อที่จะมีชีวิตอยู่รอด
*ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเรียกว่า "การรับรู้"
*ถ้าเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเรียกว่า "การเรียนรู้"

พัฒนาการทางสติปัญญา
เอาการทงานของสมองมาจความสมนธ์กับอายุจะได้มองง่ายขึ้นใช้ปรสาทสมผัสทั้ง 5 ก็บกี่ยวข้อมูลตรงนี้คือเส้นใยที่เกิดขึ้นในสมอง

พัฒนาการด้านสติปัญญาตามแนวคิด
เพียเจต์ การรียนรู้เป็นลำดับขั้น
บรูเนอร์ การเรียนรู้ให้เด็กเก็บข้อมูลออกมาเป็ภาพ

การเปลี่ยแปลงพฤติกรรม คือ การเรียนรู้เพื่อมีชีวิตอยู่รอด
เด็กปฐมวัยรียนรู้โดยการ เล่น เลียนแบบ มีอิสรในการลือกสิ่งต่างๆได้ด้วยตนเอง เพื่อจัดกิจกรรมให้เหมาะกับวิธีการเรียนรู้ จะไม่จัดโดยครูเล่าให้ฟังแต่ราจะให้ด็กกระทำห็นภาพจริง

ความรู้ที่ได้รับ
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กปฐมวัยระบบการทำงานของสมองในการเก็บเกี่ยวข้อมูลจากประสาทสัมผัสทั้ง5 ในสวนนี้จะทำให้เกิดเส้นใยขึ้นในสมองทำให้เรามีความรู้มากขึ้นนั้นเอง

ทักษะการเรียนรู้
-การนำเสนอวิจัยหน้าชั้นเรียนของเพื่อน
-ช่วยกันระดมความคิดตอบคำถาม

วิธีการสอน
มีการซักถาม-ตอบ อธิบายเนื้อหา ให้ระดมความคิดเอาใจความสำคัญของเนื้อหาออกมา

ประเมินการเรียนการสอน
สภาพห้องเรียนเรียบร้อยดี
ตนเองมีความตั้งใจในการเรียนและแสดงความคิดเห็นเวลาอาจารย์ถาม
เพื่อนมีความตั้งใจในการเรียนและให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็นได้ดี
อาจารย์ผู้สอนมีความตั้งใจในการสอนดี มีการสอนที่ทำให้ด็กไม่ง่วงแลผ่อนคลายมีเสียงหัวตลอดในเวลาเรียนเรียนแล้วรู้สึกไม่เครียด

วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียน วันศุกร์ที่ 16 มกราคม 2558

บันทึกการเรียน

บทความการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
จากการรายงานหน้าชั้นเรียนของ
"นางสาวจงรักษ์ หลาวเหล็ก" กล่าวว่า การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยต้องเป็นการจัดให้เด็กลงมือปฎิบัติจริงและมีบรรยากาศไม่เคล่งเคลียด เพื่อเป็นการกระตุ้นสมองได้เกิดความคิดใหม่ๆโดยที่การลงมือกระทำนั้นต้องสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน ทำให้เกิดการเชื่อมโยงกับความรู้เดิมทำให้เกิดความคิดรวบยอม การวัดหรือการจัดประเภทต้องสัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน
"นางสาวประภัสสร คำบอนภิทักษ์" กล่าวว่า การเรียนรู้คณิตศาสตร์ของเด็กวัยซน 
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ไม่ใช้แค่การท่องจำของเด็ก คณิตศาสตร์มีความสัมพันธ์ของชีวิตคนเราตั้งแต่อยู่ในท้อง การพัฒนาเด็กต้องมีปฏิสัมพันธ์การพูกคุย การมอง การสัมผัส ต้องมีการกระตุ้นสมองให้เกิดความคิดในเรื่องของคณิตศาสตร์ มีการนับปริมาณ การลงมือกระทำด้วยสายตาคือการมองเห็นสังเกตของสิ่งรอบตัว ปฎิสัมพันธ์ คือ การลงมือกระทำด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5

ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
1.ความหมายของคณิศาสตร์
2.ความสำคัญของคณิตศาสตร์
3.ประโยชน์ของคณิศาสตร์
4.แนวคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์









แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 คน แบ่งหัวข้อด้านบนให้อ่านแล้วสรุปใจความสำคัญ
ดิฉันได้หัวข้อ ประโยชน์ของคณิตศาสตร์
การคณิตศาสตร์ คือ การคำนวน การคำนวนที่ว่าไม่ใช่การบวกลบแต่คณิตศาสตร์ทำให้เด็กรู้เกี่ยวกับการจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ตามลัษณะหรือขนาดของมันเท่านั้น เช่น การจัดเป็นหมวดหมู่ของกล่องลูกปัด และการจัดดินสอสี ในชีวิตของคนเราแนวคิดคณิตศาสตร์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยตลอดเวลา เช่นเรื่องรูปร่าง ขนาด ปริมาณ และเวลา ครูจะต้องพยายามสอนให้เด็กมีทักษะในการคำนวน เช่น ดอกไม้สองดอกรวมกับดอกไม้อีกสองดอกจะได้เป็นสี่ดอก 2+2 = 4 เป็นต้น ครูต้องเน้นในแง่จำนวนให้เด็กได้เห็นจริงๆไม่ใช่แค่บอกเลขบนกระดานดำโดยให้เด็กคิดเองแต่ไม่ได้สัมผัสแค่สิ่งของ
เราใช้ความรู้คววามเข้าใจและทักษะทางคณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันอยู่ตลอดเวลาทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น การอ่านราคาสินค้า,การบอกเวลา,เบอร์โทรศัพท์ ฉนั้น เราต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้ดีเพื่อที่จะได้นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ภาษาคณิตจะนำไปสู้ความรู้ความเข้าใจโลกและสรรพสิ่งรอบตัวเกี่ยวกับ ปริมาณ จำนวน ตำแหน่ง มิติ และเวลา

ความหมายของคณิศาสตร์ คือ วิชาว่าด้วยการคำนวนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ การนัล การคำนวณ การประมาณ มัความสัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของมนุษย์ เด็กใช้คณิตศาสตร์อย่างง่ายจากความคิดของตนแล้วค่อยๆพัฒนาถึงความคิดแบบคณิตศาสตร์อย่างถูกต้อง

ได้เวลาตื่นนอนหรือยังนะ?
มันยังมืดตึ๊ดตื๋ออยู่เลย...ต๊องหน่อง
พี่ชายฉัน ตื่นนอนหรือยังเอ่ย?
( เวลา,การคิดอย่างมีเหตุผล )


จัดเก็บเสื่อผ้าและใส่ตู้ให้ถูกที่
( การจัดประเภทการจับคู่และการตัดสินใจ )


รับประทานอาหารเช้า / และช่วยให้อาหารแมว
ต้องไม่ใให้มากเกินไป / พอหรือยังนะ?
( การคาดคะเนปริมาณ,การเปรียบเทียบ )


พาต๊องโหน่งไปโรงเรียน / เดินไปที่มุมถนน
แล้วข้ามที่สัญญาณไฟ
( ทิศทาง,เวลา )


ดูโทรทัศน์แล้วเล่นตุ๊กตาหมีแล้วเล่นจิ๊กซอว์
จนถึงเวลาอาหาร
( การนับ,ขนาด,รูปร่าง,เวลา )


หลังอาหารกลางวัน / เราไปสวนสาธารณะ / เล่นแยกประเภทใบไม้ / นับจำนวนเป็ด / แตะบอล /มองเวลา
( การจักประเภท,การนับ,รูปทรง )


ความรู้ที่ได้รับ
ได้รู้ถึงความหมายความสำคัญประโยชน์แนวคิดของคณิตศาสตร์ ว่าคณิตศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราตลอดเวลาไม่ใช่แค่การบวกลบแต่เป็นเรื่อง รูปร่าง ขนาด ปริมาณ และเวลา คณิตศาสตร์สามารถใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันอยู่ตลอดเวลาฉะนั้นเราต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้ดีเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะการเรียนรู้
-การนำเสนอบทความหน้าชั้นเรียนของเพื่อน
-ช่วยกันระดมความคิดสรุปใจความสำคัญของหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย

วิธีการสอน
มีการซักถาม-ตอบ อธิบายเนื้อหา ให้ระดมความคิดเอาใจความสำคัญของเนื้อหาออกมา

ประเมินการเรียนการสอน
สภาพห้องเรียนเรียบร้อยดีมีโปรเจ็คเตอร์เรียยบร้อยแล้ว
ตนเองมีความตั้งใจในการเรียนและแสดงความคิดเห็นเวลาอาจารย์ถามและแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม
เพื่อนมีความตั้งใจในการเรียนและให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็นได้ดี
อาจารย์ผู้สอนมีความตั้งใจในการสอนดีมีการฝึกให้เราได้ใช้สมองคิดกลั่นกรองความสำคัญออกมาเป็นขั้นๆจนได้ข้อสรุปเป็นเสียงเดียวกันทั้งห้องให้เข้าใจตรงกัน




วันศุกร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียน วันศุกร์ที่ 9 มกราคม 2558

บันทึกการเรียน

แนวทางในการเรียนมีเกณฑ์การประเมิน 6 ด้าน
1.คุณธรรมจริยธรรม บทบาทวิชาชีพของตัวเราเองและครูผู้สอน
2.ความรู้ เนื้อหาสาระ
  *สิ่งที่มีในบล็อก
    - ความรู้ที่ได้รับ
    - ทักษะ เช่น การคิด ความคิดเห็น ร่วมกิจกรรมงานกลุ่ม
    - วิธีการสอน เช่น การบรรยาย
    - ประเมิน สภาพห้องเรียน/ตัวเอง/เพื่อน/อาจารย์
    - องค์ประกอบของบล็อก ใช้หัว้อภาษาอังกฤษ/มีคำอธิบาย/แนวการสอน/รูป/ปฏิทิน
    - ลิ้งค์บทความเกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
    - สรุปบทความแยกมาอีกกล่องหนึ่ง
    - นำเสนอบทความเลขที่ 1-3 /แนะนำตัว/บอกชื่อบทความ//อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
3.ทักษะทางปัญญา
4.ความสัมพันธ์ แหล่งเรียนรู้เชื่อมโยงกัน
5.การคำนวณการใช้ตัวเลข สื่อสารด้วยเทคโนโลยี
6. การจัดการเรียนรู้ ,การออกแบบการเรียนรู้ ,การเขียนแผน

ทบทวนประเมิณการเรียนรู้เดิมใน My Mapping.



การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.การจัดประสบการณ์ ด้านสังคม ด้านอารมณ์ ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา
2.ประสบการณ์ เช่น ความรู้พื้นฐานของการเรียนคณิตศาสตร์ที่ผ่านมา,การเล่านิทานเชื่อมโยงการนับเลขหรือการเรียงลำดับ,การนับจำนวน
3.เด็กปฐมวัย เช่น การจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัย,สื่อการสอน
4.คณิตศาสตร์ เช่น การบวกลบเลข,การนับจำนวน,การเรียงลำดับ

ความรู้ที่ได้รับ
ได้รู้แนวทางในการเรียนว่ามีเกณฑ์การประเมิณในด้านต่างๆอะไรบ้าง และมีการทบทวนความรู้เดิมของเราที่มีอยู่ที่ผ่านมาเพื่อที่จะนำมใช้เชื่อมโยงในบทเรียนปัจจุบันได้รู้ว่าจะต้องเพิ่มเดิมตรงไหนให้เนื่อหาในบทเรียนนี้ครบถ้วน

ทักษะการเรียนรู้
-การแสดงความคิดเห็น
-ช่วยกันระดมความคิดของเพื่อนในห้องเพื่อเขียน My Mapping.

วิธีการสอน
มีการซักถาม-ตอบ อธิบายเนื้อหาในข้อตกลง

ประเมินการเรียนการสอน
สภาพห้องเรียนเรียบร้อยดีแต่ขาดโปรแจ็คเตอร์
ตนเองมีความตั้งใจในการเรียนและแสดงความคิดเห็นเวลาอาจารย์ถาม
เพื่อนมีความตั้งใจในการเรียนและให้ความร่วมมือในการตอบคำถามได้ดี
อาจารย์ผู้สอนมีความตั้งใจในการสอนดีอธิบายเนื้อหาและรายละเอียดได้อย่างชัดเจน การแต่งกายสุภาพ ใช้น้ำเสีงและถ้อยคำเสีงดังฟังชัดเข้าใจง่ายดีค่ะ